วิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย
(Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน อ. ตฤณ แจ่มถิน
วัน-เดือน-ปี 7-09-2558
เรียนครั้งที่ 3 เวลาเรียน 08.30.- 12.30 น.
- อาจารย์แจกเนื้อเพลงLondon Bridge is falling down
- เมื่อเห็นสตอเบอรี่อยู่แต่มีรั่วล้อมรอบ นักศึกษาคิดว่าจะเป็นรั้วแบบไหนและสูงเท่าไหร่
- ถ้าได้เข้าไปจะกินสตอเบอรี่กี่ลูก
- ถ้าเจ้าของเห็นเราขณะกินสตอเบอรี่ เราจะแก้ตัวอย่างไร
- รู้สึกอย่างไรเมื่อเดินออกมาจากไร่สตอเบอรี่
การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์เด็กปฐมวัย
"ความคิดสร้างสรรค์ไม่สามารถบังคับให้เกิดขึ้นได้ แต่สามารถส่งเสริมให้เกิดขึ้นได้"แนวคิดทฤษฎีทางความคิดสร้างสรรค์
แนวคิดและทฤษฎีโครงสร้างทางปัญญาของ Guilford
อธิบายความสามารถของสมองมนุษย์เป็นแบบจำลอง 3 มิติ
มิติที่ 1 เนื้อหา (ข้อมูลหรือสิ่งเร้าที่เป็นสื่อในการคิด)
- ภาพ
- สัญลักษณ์
- ภาษา
- พฤติกรรม
มิติที่ 2 วิธีคิด (กระบวนการทำงานของสมอง)
- การรู้และเข้าใจ
- การจำ
- การคิดแบบอเนกนัย
- การคิดแบบเอกนัย
- การประเมินค่า
มิติที่ 3 ผลของการคิด (การตอบสนองต่อข้อมูลหรือสิ่งเร้า)
- หน่วย
- จำพวก
- ความสัมพันธ์
- ระบบ
- การแปลงรูป
ทฤษฎี Constructivism
- เด็กเรียนรู้เอง
- เด็กคิดเอง
- ครูกับเด็กเรียนรู้ไปด้วยกัน
- สร้างองค์ความรู้ใหม่ด้วยตนเอง
ทฤษฎีของ Torrance
ความคิดสร้างสรรค์เป็นกระบวนการของความรู้สึกต่อปัญหา แล้วรวบรวมความคิดตั้งเป็นสมมติฐาน และเผยแพร่ผลที่ได้จากการทดสอบ
- ขั้นที่ 1 การพบความจริง
- ขั้นที่ 2 การค้นพบปัญหา
- ขั้นที่ 3 การตั้งสมมติฐาน
- ขั้นที่ 4 การค้นพบคำตอบ
- ขั้นที่ 5 ยอมรับผล
บรรยากาศที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
- เด็กรู้สึกปลอดภัย
- ให้เด็กได้ลองเล่นคนเดียว
- ได้สำรวจ ค้นคว้า และสร้างสรรค์ด้วยตนเอง
- ขจัดอุปสรรค
- ไม่มีการแข่งขัน
- ให้ความสนใจเด็ก
ลักษณะของเด็กที่มีความคิดสร้างสรรค์
- มีไหวพริบ
- กล้าแสดงออก
- อยากรู้อยากเห็น
- ช่างสังเกต
- มีอารมณ์ขัน
- มีสมาธิ
- รักอิสระ
- มั่นใจในตนเอง
- อารมณ์อ่อนไหวง่าย
- ไม่ชอบการบังคับ
- ชอบเหม่อลอย
- ซาบซึ้งกับสุนทรียภาพ
- มีความวิจิตรพิสดาร
- ชอบสร้างแล้วรื้อ รื้อแล้วสร้างใหม่
- ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา
กิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
Torrance ได้กล่าวถึงลักษณะของกิจกรรมที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ไว้ 3 ลักษณะ
- ลักษณะที่ 1 ความไม่สมบูรณ์ การเปิดกว้าง (Incompleteness, Openness)
- ลักษณะที่ 2 การสร้างบางอย่างขึ้นมา และนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ (Producing Something and Using It)
- ลักษณะที่ 3 การใช้คำถามของเด็ก (Using Pupil Question)
คิดให้ได้มากที่สุด
2. คำถามที่ส่งเสริมความคิดริเริ่ม
คิดหรือทำสิ่งที่ไม่เคยมีใครคิดหรือทำมาก่อน
3. คำถามที่ส่งเสริมความคิดยืดหยุ่น
ได้คำตอบที่หลากหลาย
4. คำถามที่ส่งเสริมความคิดละเอียดลออ
คิดให้เห็นรายละเอียดปลีกย่อยต่างๆ
แนวทางการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของ Torrance
- ส่งเสริมให้เด็กถาม
- เอาใจใส่ความคิดของเด็ก
- ยอมรับคำถามของเด็ก
- ชี้แนะให้เด็กหาคำตอบด้วยตนเอง
- แสดงให้เด็กเห็นว่าความคิดของเด็กมีคุณค่า
- แนวทางการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของ Torrance (ต่อ)
- เปิดโอกาสให้เด็กได้เรียนรู้อยู่เสมอ
- ค่อยเป็นค่อยไป
- ยกย่องชมเชย
- ไม่มีการวัดผล
กิจกรรมวาดภาพจากสีที่ได้จากธรรมชาติ
อุปกรณ์
- ใบไม้
- ดิน
- ดอกไม้
Know lead (ความรู้ที่ได้รับ)
- วิธีการส่งเสริมความคิดสรรค์ของเด็ก เราต้องไม่ไปตีกรอบ ปล่อยให้เด็กเป็นอิสระและได้ใช้ความคิด ความสามารถของตนเอง
Skill (ทักษะที่ได้รับ)
- สังเกต
- ความจำ
- ความร่วมมือกันในกลุ่ม
- ความคิดสร้างสรรค์
- ความกล้าแสดงออก
Adoption( การนำไปใช้)
- นำกิจกรรมไปให้เด็กทำ เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ การแก้ปัญหาและเรียนรู้สีจากธรรมชาติ
Classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)
- ทุกคนร่วมทำกิจกรรมกันอย่างสนุกสนาน
Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
- ให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม ตั้งใจเรียน
Friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
- เพื่อนๆทุกคนสนุกสนาน ร่าเริง ให้ความร่วมมือกันทำกิจกรรม
Teacher-Assessment (ประเมินครู)
- อาจารย์เตรียมกิจกรรมมาสอนแต่ละครั้งไม่ซ้ำกันเลยคะ ทำให้เรียนกับอาจารย์สนุก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น