Winnie The Pooh Glitter Winnie The Pooh - Winnie

วันเสาร์ที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2558

Diary No. 7 Monday,October 26, 2558.

วิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย 
(Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน  อ. ตฤณ แจ่มถิน
วัน-เดือน-ปี 26-10-2558
เรียนครั้งที่  7  เวลาเรียน 08.30.- 12.30 น.



Story of subject (เนื้อหาที่สอน)


 อาจารย์แจกสีให้แก่นักศึกษาคนละ 1 กล่อง 


     กิจกรรมประดิษฐ์ไม้กายสิทธิ์ 










    Know lead (ความรู้ที่ได้รับ)

    • วิธีการประดิษฐ์ไม้ ไว้ชี้บนกระดาน
    Skill (ทักษะที่ได้รับ)

    • การวางแผน
    • ความคิดสร้างสรรค์
    • สมาธิ
    Adoption( การนำไปใช้)

    • นำไปไว้ชี้บนกระดาน
    Classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)

    • สนุกสนาน ตั้ใจทำกิจกรรม
    Self-Assessment (ประเมินตนเอง)

    • ตั้งใจทำกิจกรรม
    Friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)

    • เพื่อนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
    Teacher-Assessment (ประเมินครู)

    • อาจารย์น่ารัก ใจดี สอนสนุก

    วันเสาร์ที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2558

    Diary No. 6 Monday, October 19, 2558.

    วิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย 
    (Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood )
    อาจารย์ผู้สอน  อ. ตฤณ แจ่มถิน
    วัน-เดือน-ปี 19-10-2558
    เรียนครั้งที่  6  เวลาเรียน 08.30.- 12.30 น.


    Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

    1. เริ่มด้วยการเปิดเพลงให้ทายเสียงที่ได้ยิน

    กิจกรรมฟังเสียงเครื่องดนตรี




    1. ไวโอลิน         
    2. แซ็กโซโฟน         
    3. เม้าท์ออกแกน       
    4. ฉาบ      
    5. ทอมโบน        
    6. กีต้าร์        
    7. เปียโน      
    8. แตร      
    9. ฟรุ๊ต 
    10. นิ้งหน่อง       
    11. ทรัมเป็ต       
    12. กลองชุด        
    13. เชลโล        
    14. ปี่สก็อต   
    กิจกรรมฟังเสียงสัตว์






    1. สุนัข       
    2. แมว      
    3. หมู       
    4. วัว       
    5. ไก่ตัวผู้     
    6. ม้า       
    7. ไก่ตัวเมีย      
    8. ลา      
    9. แพะ      
    10. เป็ด      
    11. นก

    2. ทายสำนวนจากภาพปริศนา




    เฉลย
    • ไก่แก่แม่ปลาช่อน
    • วงดนตรี 

    3. กิจกรรมภาษาสร้างสรรค์

    4. รวมกลุ่มแต่งเพลง  " อะไรเอ่ย "
      - อะไรเอ่ยเป็นเจ้าแห่งป่า       เป็นสัตว์สี่ขาเลี้ยงลูกด้วยนม  
    มีขนแผงคอสวยงามน่าชม      เด็กๆทุกคนมาลองทายดู
     คำตอบคือ สิงโต
     
     - อะไรเอ่ยตัวสูงคอยาว              มีฟันสีขาวขายาวลายจุด
       ชอบกินใบไม้บนยอดสูงสุด        พอถึงวันหยุดเด็กชอบไปดู

     คำตอบคือ ยีราฟ


    Know lead (ความรู้ที่ได้รับ)
    • ฝึกการสังเกตและฟังเสียงต่างๆ ใช้ความคิดสร้างสรรค์ในการใช้ภาษา
    Skill (ทักษะที่ได้รับ)
    • ความจำ
    • จังหวะ
    • ความกล้าแสดงออก
    Adoption( การนำไปใช้)
    • นำไปใช้จัดกิจกรรมการเข้าจังหวะให้เด็กๆและฝึกการสังเกต
    Classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)
    • สนุกสนาน 
    Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
    • ตั้งใจเรียน
    Friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
    • เพื่อนๆตั้งใจเรียน ร่วมมือกันทำกิจกรรม
    Teacher-Assessment (ประเมินครู)
    • อาจารย์มีวิธีการสอนและเทคนิคที่หลากหลาย 





    วันเสาร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2558

    Diary No. 5 Monday, October 5, 2558.

    วิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย 
    (Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood )
    อาจารย์ผู้สอน  อ. ตฤณ แจ่มถิน
    วัน-เดือน-ปี 5-10-2558
    เรียนครั้งที่  5  เวลาเรียน 08.30.- 12.30 น.



    Story of subject (เนื้อหาที่สอน)
    1. กิจกรรมนักมายากลระดับโลก
    • หลังเวทีกำลังขึ้นแสดงโชว์มีความรู้สึกอย่างไร
    • ออกไปโชวแล้วแต่ขณะเล่นกับผู้ชมเรียน และผู้ชมขึ้นมาเล่นด้วยจะเลือกใคร
    • โดยเพื่อนจับผิดได้จะกระซิบว่าอะไร
    • หลังจากแสดงเสร็จไปแล้วรู้สึกอย่างไร
          


          2.  การเล่นเพื่อสิ่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

    การเล่น คือ กระบวนการเรียนรู้ และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ ทำให้เด็กเกิดความสนุกสนานเพลินเพลิน ผ่อนคลาย ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม                                                                                         
    แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น

    Piaget 
         กล่าวถึงพัฒนกาารเล่นของเด็กมี 3 ขั้นดังนี้
    • ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส (Sensorimotor Play) เช่น การหยิบจับ สำรวจ ซึ่งจะยตุลงเมื่อเด็ก 2 ขวบ
    • ขั้นการเล่นสร้างสรรค์ (Constructive Play) อายุ 1ปีครึ่ง-2ปี การเล่นไม่มีขอบเขต เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึงถึงความเป็นจริง จะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง เล่นคนเดียวต่างคนต่างเล่น
    • ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Play) อายุ 2 ขวบขึ้นไป สามารถพัฒนาการเต็มที่เมื่ออายุ 3-4 ขวบ เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำและสมมติสิ่งของเครื่องเล่นต่าง ๆ ที่ไม่มีอยู่ที่นั่น ลักษณะการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ที่นับว่าเป็นพัฒนาการสูงสุดคือการเล่นบทบาทสมมติ 
       ประเภทของเล่นเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสร้างสรรค์
    1. การเล่นกลางแจ้ง
    2. การเล่นในร่ม
    • การเล่นตามมุมประสบการณ์
    • การเล่นสรรค์สร้าง      
     การเล่นสรรค์สร้าง คือ การเล่นที่ให้โอกาสเด็กคิดค้นวิธีเล่นอย่างอิสระ และเล่นได้หลายวิธี ใช้ความคิดพลิกแพลงวิธีเล่นให้แตกต่างไปจากเดิม ทำให้เด็กเกิดความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง

    องค์ประกอบของการเล่นสรรค์สร้าง
    1.  สภาวะการเรียนรู้
    2.  พัฒนาการของการรู้คิด
    3. กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน
    กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
    1. เปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องสับเปลี่ยน
    2. การเรียนรู้เกี่ยวกับตรงเวลา
    3. การจำแนกอย่างมีเหตุผล
     หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง    
    1. ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็ก
    2. ศึกษาสภาพแวดล้อม จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสม
    3. มีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวะเวลาที่เหมาะสม
    4. มีการสรุปท้ายกิจกรรม
    รูปแบบการสอนแบบ STEM
    S = Science
    T = Tecnology
    E = Engineering
    M = Mathematics 

              


    3. กิจกรรมนักออกแบบอาคาร โดยแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน

    อุปกรณ์
    1. ดินน้ำมัน
    2. ไม้จิ้มฟัน


         

                                         
     กิจกรรมเรือน้อยบรรทุกของ

    1. กระดาษ 1 แผ่น
    2. ไม้เสียบลูกชิ้น 4 ไม้



          



    Know lead (ความรู้ที่ได้รับ)

    • กิจกรรมการเล่นที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของเด็กต้องมีการจัดกิจกรรมที่คำนึงถึงความพร้อมของผู้เรียน และกิจกรรมนั้นต้องให้เด็กลงมือปฎิบัติ โดยผ่านประสาทสัมผัสทั้งห้า เพื่อให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ

    Skill (ทักษะที่ได้รับ)

    • ความคิดสร้างสรรค์
    • การวางแผน
    • ความสามัคคี
    Adoption( การนำไปใช้)

    • นำกิจกรรมที่อาจารย์สอน ไปใช้ในการจัดกิจกรรมให้เด็กๆในอนาคต
    Classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)

    • สนุกสนาน
    Self-Assessment (ประเมินตนเอง)

    • วันนี้ไม่ได้มาเรียน แต่ได้สอบถามตามงานจากเพื่อนๆ
    Friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)

    • เพื่อนๆทุกคนตั้งใจเรียน
    Teacher-Assessment (ประเมินครู)

    • อาจารย์สอนสนุก