Winnie The Pooh Glitter Winnie The Pooh - Winnie

วันเสาร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

Diary No. 10 Monday, November 10, 2558.

วิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย 
(Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood )
อาจารย์ผู้สอน  อ. ตฤณ แจ่มถิน
วัน-เดือน-ปี 10-11-2558
เรียนครั้งที่  10  เวลาเรียน 08.30.- 12.30 น.




Story of subject (เนื้อหาที่สอน)

  • อาจารย์ได้เริ่มการสอน โดยใช้เกมทายใจ ร้านขนมหวาน เพื่อให้นักศึกษาเตรียมพร้อมในการเรียน



ศิลปะสร้างสรรค์
    ความหมาย
    • เป็นเครื่องมือที่ให้เด็กแสดงความรู้สึก ความต้องการออกมาผ่านผลงาน
    • การวาด การปั้น การประดิษฐ์ การตัด การฉีก การปะ การพับ 
      ความสำคัญและประโยชน์ของศิลปะสร้างสรรค์
      • เด็กได้แสดงความรู้สึก ความคิด ความสามารถ
      • ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของเด็ก
      • บำบัดอารมณ์
      • ฝึกทักษะการทำงานของอวัยวะต่างๆ
      • แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของเด็ก
        พัฒนาการทางศิลปะของ Lowenfeld and Britain
          1. ขั้นขีดเขียน (Scribbling Stage) อายุ 2-4 ปี
          • ความสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา

          2. ขั้นก่อนมีแบบแผน (Preschemalic Stage) อายุ 4-7 ปี
          • ภาพมีความสัมพันธ์กับความจริง



          3. ขั้นใช้สัญลักษณ์ (Schemalic Stage) อายุ7-9 ปี
          • คล้ายของจริง


          หลักการจัดประสบการณ์ศิลปะ
          • กระบวนการสำคัญกว่าผลงาน
          • หลีกเลี่ยงการวาดภาพตามแบบ การระบายสีจากสมุดภาพ
          • ชื่นชม
          • เตรียมอุปกรณ์
          • ศิลปะสำคัญเช่นเดียวกับการเขียนอ่าน
          • หลีกเลี่ยงคำถาม “กำลังทำอะไร” หรือ “เดาสิ่งที่เด็กทำ”
                    กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
                    • กิจกรรมสี
                    • การปั้น
                    • การตัดปะ
                    • การพับ
                    • การประดิษฐ์


                    อาจารย์ได้มอบหมายงานให้ไปเป็นการบ้าน


                       


                    Know lead (ความรู้ที่ได้รับ)
                    • การจัดกิจกรรมให้กับเด็กต้องคำนึงถึงอายุและความต้องการของเด็ก ปล่อยให้เด็กทำงานไปโดยที่เราหลีกเลี่ยงคำถามที่จะทำให้เด็กสับสนและไม่เกิดความคิดสร้างสรรค์
                    Skill (ทักษะที่ได้รับ)
                    • ความคิดสร้างสรรค์
                    • ความจำ
                    • ความเข้าใจ
                    Adoption( การนำไปใช้)
                    • นำการจัดกิจกรรมให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์ โดยใช้วิธีที่หลากหลาย ทำให้เด็กไม่เบื่อหน่ายและเกิดจิตนาการ ความคิดสร้างสรรค์
                    Classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)
                    • สนุกสนาน มีความสุขคะ
                    Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
                    • ตั้งใจเรียน 
                    Friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
                    • เพื่อนๆทุกคนตั้งใจเรียน อาจมีพูดคุยกันบ้างในเวลาเรียน
                    Teacher-Assessment (ประเมินครู)
                    • อาจารย์มีการเตรียมกิจกรรม เนื้อหาที่จะสอนพร้อมทุกครั้ง อาจารย์สอนสนุก มีวิธีการสอนที่หลายหลากคะ

                    Diary No. 9 Monday,November 9, 2558.

                    วิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย 
                    (Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood )
                    อาจารย์ผู้สอน  อ. ตฤณ แจ่มถิน
                    วัน-เดือน-ปี 9-11-2558
                    เรียนครั้งที่  9  เวลาเรียน 08.30.- 12.30 น.



                    Story of subject (เนื้อหาที่สอน)
                    • สอบเขียนกระดาน โดยให้สอนและแต่งนิทาน


                    • กิจกรรมเคลื่อนไหว แบ่งกลุ่มทำกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ  หน่วยอาหาร


                    ขั้นแรก
                    • ให้เด็กหาบริเวณพื้นที่เฉพาะตัว
                    • ให้เด็กเคลื่อนไหวตามจังหวะ เมื่อได้ยินสัญญาณหยุดให้หยุดทันที

                    ขั้นต่อมา
                    • จากนั้นให้เด็กเคลื่อนไหวตามจังหวะ พร้อมปฏิบัติตามคำสั่งดังนี้

                                      - จับกลุ่ม 2 คน ให้เด็กสมมติตัวเองเป็นช้อน ส้อม
                                      - จับกลุ่ม 4 คน ให้เด็กสมมติตัวเองเป็นข้าวไข่เจียว
                                      - จับกลุ่ม 6 คน ให้เด็กสมมติตัวเองเป็นก๋วยเตี่ยว



                    Know lead (ความรู้ที่ได้รับ)
                    • วิธีการสอนและการใช้คำถาม เพื่อกระตุ้นการคิดของเด็กๆ และฝึกการแต่งนิทาน เขียนบนกระดาษ
                    • การใช้กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะทำให้เด็กเกิดความคิดสร้างสรรค์
                    Skill (ทักษะที่ได้รับ)
                    • การวางแผน
                    • ความคิดสร้างสรรค์
                    • สมาธิ
                    • เทคนิคการเขียนกระดาน
                    • การสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
                    Adoption( การนำไปใช้)
                    • นำการสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะและการสอนและการใช้คำถาม เพื่อกระตุ้นการคิดของเด็กๆ และการแต่งนิทานเขียนบนกระดาน
                    Classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)
                    • สนุกสนาน ตั้งใจทำกิจกรรม
                    Self-Assessment (ประเมินตนเอง)
                    • ตั้งใจทำกิจกรรม
                    Friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)
                    • เพื่อนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
                    Teacher-Assessment (ประเมินครู)
                    • อาจารย์น่ารัก ใจดี สอนสนุก อาจารย์มีวิธีการสอนที่หลากหลาย

                    วันเสาร์ที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2558

                    Diary No. 8 Monday, November 2, 2558.

                    วิชาการจัดประสบการณ์เพื่อพัฒนาความคิดสร้างสรรค์สำหรับเด็กปฐมวัย 
                    (Creative Thinking Experiences Management for Early Childhood )
                    อาจารย์ผู้สอน  อ. ตฤณ แจ่มถิน
                    วัน-เดือน-ปี 2-11-2558
                    เรียนครั้งที่  8  เวลาเรียน 08.30.- 12.30 น.




                    Story of subject (เนื้อหาที่สอน)



                     ร้องเพลงWhere is Thumb-kin 




                     ซ้อมการเขียนกระดาน 








                     

                    Know lead (ความรู้ที่ได้รับ)

                    • วิธีการเขียนตัวหนังสือบนกระดาน เทคนิคการเขียนกระดานเป็นสิ่งสำคัญในการสอน
                    Skill (ทักษะที่ได้รับ)

                    • การวางแผน
                    • สมาธิ
                    Adoption( การนำไปใช้)

                    • ฝึกการเขียนตัวหนังสือให้สวยงาม เทคนิคการเขียนกระดานเพื่อไปใช้ในการสอน
                    Classroom atmosphere (บรรยากาศในห้องเรียน)

                    • สนุกสนาน ตั้ใจทำกิจกรรม
                    Self-Assessment (ประเมินตนเอง)

                    • ตั้งใจทำกิจกรรม
                    Friend-Assessment (ประเมินเพื่อน)

                    • เพื่อนให้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม
                    Teacher-Assessment (ประเมินครู)

                    • อาจารย์น่ารัก ใจดี สอนสนุก